วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS03 - 30-06-52

อะเรย์(Array)
อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า
LinearListมีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน
การกำหนดอะเรย์(
Array)
ต้องกำหนดชื่ออะเรย์พร้อม
Subscriptซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบเขตของอะเรย์มีได้มากกว่า1ตัวจำนวน subscript จะเป็นตัวบอกมิติของอะเรย์นั้น
Array (Cont.)
การกำหนด
Subscript แต่ละตัวจะประกอบด้วย ค่าสูงสุด และค่าต่ำสุดของsubscript
ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของ
Subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง (lower bound)
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound)
ค่า
subscriptที่ใช้อ้างอิงถึงสมาชิกจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับขอบเขตล่าง และน้อยกว่าหรือเท่ากับขอบเขตบนการจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลักจะใช้เนื้อที่ขนาด เท่ากันเพื่อเก็บสมาชิกแต่ละตัว โดยเนื้อที่จะเรียงต่อเนื่องกัน
พิจารณาตามประเภทของอะเรย์ในมิติต่าง ๆ ดังนี้

- อะเรย์ 1 มิติ
รูปแบบ

data-type array-name[expression]
data-type คือ ประเภทของข้อมูลอะเรย์ เช่น int
char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวน
สมาชิกของอะเรย์

ตัวอย่าง
char a[4]; int num[10];
Initialization
คือ การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอะเรย์การกำหนดค่าให้กับตัวแปรชุดที่มีค่าเป็นตัวเลข

การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน

สามารถกำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ส่งให้กับฟังก์ชันได้
2 ลักษณะ
1.การกำหนดarrayelementเป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชันทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุSubscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มีSubscript
การประกาศอาร์กิวเมนต์ในฟังก์ชันเป็นอะเรย์

ถ้าเป็นอะเรย์มิติเดียว สามารถทำได้ทั้งหมด
3 วิธี
1. มีการประกาศขนาดของอะเรย์ที่ทำหน้าที่ในการรับค่า
2. ไม่ต้องมีการประกาศขนาดของอะเรย์ที่ทำหน้าที่ในการรับค่า
3. ตัวแปรที่ทำหน้าที่รับค่าถูกกำหนดเป็นพอยน์เตอร์
- อะเรย์ 2มิติ
รูปแบบ

type array-name[n] [m];
type หมายถึง ชนิดของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
array-name หมายถึง ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
n หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของแถว
m หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของคอลัมน์

#include<stdio.h>
#include<string.h>
int main(void) {
struct cartoon_book{
char name[50];
char author[50];
int price;
int year;
int print_time_at;
int telephone;
char mail[50];
char distributor[50];

}book;
strcpy(book.name,"Naruto ");
strcpy(book.author,"Nakamura Usuke");
book.price=40.50;
book.year=2550;
book.print_time_at=10;
book.telephone=4816902;
strcpy(book.mail,"www.Cartooninverse.com");
strcpy(book.distributor,"Cartooninverse ");

printf("name:%s\n\n",book.name);
printf("author:%s\n\n",book.author);
printf("price:%d\n\n",book.price);
printf("year:%d\n\n",book.year);
printf("print time at:%d\n\n",book.print_time_at);
printf("telephone:%d\n\n",book.telephone);
printf("mail:%s\n\n",book.mail);
printf("distributor:%s\n\n",book.distributor);
}

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS02 - 23-06-52

สรุป
Data Structure
Introduction
ความหมายของโครงสร้างข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล(Data)คือข้อเท็จจริงต่างๆซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้
โครงสร้างข้อมูล(Structure)คือความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม
2.ประเภทของโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น2ประเภทคือ
1.โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ(Physical Data Structure)
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ(Logical Data Structure)
3..การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก มีอยู่2วิธีดังนี้
-การแทนที่ข้อมูลแบบ สแตติก(Static Memory Representation)
-การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก(Dynamic Memory Representation)
4.ขั้นตอนวิธี
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
-มีความถูกต้อง
-ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
-สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
-มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
-ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
-ง่ายต่อการทำความเข้าใจ



VIDEO

วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติ


นางสาววนิดา จอมกระโทก รหัส50132792016

Miss. Wanida chomkratok

ชื่อเล่น นา

หลักสูตรการบริรธุรกิจ(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิด

E-mail u50132792016@gmail.com