สิ่งที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
1.การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
2.ตรงต่อเวลามากขึ้น
3.ทำให้รู้ถึงการทำงานร่วมกับคนจำนวนมาก
4.ทำให้ข้าพเจ้าและเพื่อนร่วมงานมีความรู้รักสามัคคี
5.มีการทำงานอย่างมีระบบ ระเบียบมากขึ้น
6.มีการแต่งการที่เหมาะสมและถูกต้องตามกฎระเบียบ
7.มีความรอบคอบมากขึ้น
8.สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพการงานในอนาคต
วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2552
DTS13- 04-10-52
Summary B4 Final
ทรี (Tree) เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ความสัมพันธ์ระหว่าง โหนดจะมีความสัมพันธ์ลดหลั่นกันเป็นลำดับชั้น (Hierarchical Relationship)ได้มีการนำรูปแบบทรีไปประยุกต์ใช้ในงาน
ต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ส่วนมากจะใช้สำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
เช่น แผนผังองค์ประกอบของหน่วยงานต่างๆแต่ละโหนดจะมีความสัมพันธ์กับโหนดใน
ระดับที่ต่ำลงมาหนึ่งระดับได้หลายๆโหนดเรียกโหนดดังกล่าวว่าโหนดแม่ (Parent or
Mother Node)โหนดที่อยู่ต่ำกว่าโหนดแม่อยู่หนึ่งระดับเรียกว่าโหนดลูก(Child or Son Node)โหนดที่อยู่ในระดับสูงสุดและไม่มีโหนดแม่เรียกว่าโหนดราก(Root Node)โหนดที่มีโหนดแม่เป็นโหนดเดียวกัน เรียกว่า โหนดพี่น้อง (Siblings)โหนดที่ไม่มีโหนดลูก เรียกว่า โหนดใบ (LeaveNode)เส้นเชื่อมแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโหนดสองโหนดเรียกว่า กิ่ง (Branch)
Internal Node คือ B I D E และ KAncestor ของ D คือ A Descendent ของ B คือ G H I J N O
การท่องไปในไบนารีทรี
ปฏิบัติการที่สำคัญในไบนารีทรี คือ การท่องไปในไบนารีทรี (Traversing Binary Tree) เพื่อเข้าไปเยือนทุก ๆโหนดในทรี ซึ่งวิธีการท่องเข้าไปต้องเป็นไปอย่างมีระบบแบบแผน สามารถเยือนโหนดทุก ๆ โหนด ๆ ละหนึ่งครั้งวิธีการท่องไปนั้นมีด้วยกันหลายแบบแล้วแต่ว่าต้องการลำดับขั้นตอนการเยือนอย่างไร โหนดที่ถูกเยือนอาจเป็นโหนดแม่ (แทนด้วย N)ทรีย่อยทางซ้าย (แทนด้วย L)หรือทรีย่อยทางขวา (แทนด้วย R)
ไบนารีเซิร์ชทรี
ไบนารีเซิร์ชทรี (Binary Search Tree)เป็นไบนารีทรีที่มีคุณสมบัติที่ว่าทุกๆโหนดในทรี ค่าของโหนดรากมีค่ามากกว่าค่าของทุกโหนดในทรีย่อยทางซ้าย และมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าของทุกโหนดในทรีย่อยทางขวาและในแต่ละทรีย่อยก็มี คุณสมบัติเช่นเดียวกัน
การท่องไปในกราฟ
1. การค้นหาแบบกว้าง (Breadth-first Search)กำหนดจุดเริ่มต้น ถ้าให้เริ่มต้นที่จุด A การค้นหาจะเริ่มต้นที่โหนดประชิดของ A จนครบทุกจำนวนของโหนดประชิดจากภาพที่ปรากฏต่อไปนี้ โหนด N1โหนด N2ไปเรื่อย ๆ
จนจบที่โหนด Nk การค้นหาแบบกว้างจะค้นหาต่อที่โหนดประชิดของ N1 ซึ่งเป็นโหนด ประชิดแรกของโหนด A
แบบแผนการค้นหา จะเป็นแบบเดียวกับโหนด A หลังจากเสร็จสิ้นการค้นหาจะดำเนินการค้นหาต่อที่ โหนด N2 จนสุดท้ายจบที่ โหนด Nk ในหารค้นหาแบบกว้างจะใช้คิวเก็บลำดับของโหนด ที่ต้องการค้นหาต่อไป
การค้นหาข้อมูล (Searching)
การค้นหา คือแบ่งเป็น 2 ประเภท ตามแหล่งที่จัดเก็บข้อมูลเช่นเดียวกับการ
เรียงลำดับการค้นหาข้อมูลแบบภายใน (Internal Searching)การค้นหาข้อมูลแบบภายนอก (External Searching)
1. การค้นหาแบบเชิงเส้นหรือการค้นหาตามลำดับ(Linear)
2. การค้นหาแบบเซนทินัล (Sentinel)
ทรี (Tree) เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ความสัมพันธ์ระหว่าง โหนดจะมีความสัมพันธ์ลดหลั่นกันเป็นลำดับชั้น (Hierarchical Relationship)ได้มีการนำรูปแบบทรีไปประยุกต์ใช้ในงาน
ต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ส่วนมากจะใช้สำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
เช่น แผนผังองค์ประกอบของหน่วยงานต่างๆแต่ละโหนดจะมีความสัมพันธ์กับโหนดใน
ระดับที่ต่ำลงมาหนึ่งระดับได้หลายๆโหนดเรียกโหนดดังกล่าวว่าโหนดแม่ (Parent or
Mother Node)โหนดที่อยู่ต่ำกว่าโหนดแม่อยู่หนึ่งระดับเรียกว่าโหนดลูก(Child or Son Node)โหนดที่อยู่ในระดับสูงสุดและไม่มีโหนดแม่เรียกว่าโหนดราก(Root Node)โหนดที่มีโหนดแม่เป็นโหนดเดียวกัน เรียกว่า โหนดพี่น้อง (Siblings)โหนดที่ไม่มีโหนดลูก เรียกว่า โหนดใบ (LeaveNode)เส้นเชื่อมแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโหนดสองโหนดเรียกว่า กิ่ง (Branch)
Internal Node คือ B I D E และ KAncestor ของ D คือ A Descendent ของ B คือ G H I J N O
การท่องไปในไบนารีทรี
ปฏิบัติการที่สำคัญในไบนารีทรี คือ การท่องไปในไบนารีทรี (Traversing Binary Tree) เพื่อเข้าไปเยือนทุก ๆโหนดในทรี ซึ่งวิธีการท่องเข้าไปต้องเป็นไปอย่างมีระบบแบบแผน สามารถเยือนโหนดทุก ๆ โหนด ๆ ละหนึ่งครั้งวิธีการท่องไปนั้นมีด้วยกันหลายแบบแล้วแต่ว่าต้องการลำดับขั้นตอนการเยือนอย่างไร โหนดที่ถูกเยือนอาจเป็นโหนดแม่ (แทนด้วย N)ทรีย่อยทางซ้าย (แทนด้วย L)หรือทรีย่อยทางขวา (แทนด้วย R)
ไบนารีเซิร์ชทรี
ไบนารีเซิร์ชทรี (Binary Search Tree)เป็นไบนารีทรีที่มีคุณสมบัติที่ว่าทุกๆโหนดในทรี ค่าของโหนดรากมีค่ามากกว่าค่าของทุกโหนดในทรีย่อยทางซ้าย และมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าของทุกโหนดในทรีย่อยทางขวาและในแต่ละทรีย่อยก็มี คุณสมบัติเช่นเดียวกัน
การท่องไปในกราฟ
1. การค้นหาแบบกว้าง (Breadth-first Search)กำหนดจุดเริ่มต้น ถ้าให้เริ่มต้นที่จุด A การค้นหาจะเริ่มต้นที่โหนดประชิดของ A จนครบทุกจำนวนของโหนดประชิดจากภาพที่ปรากฏต่อไปนี้ โหนด N1โหนด N2ไปเรื่อย ๆ
จนจบที่โหนด Nk การค้นหาแบบกว้างจะค้นหาต่อที่โหนดประชิดของ N1 ซึ่งเป็นโหนด ประชิดแรกของโหนด A
แบบแผนการค้นหา จะเป็นแบบเดียวกับโหนด A หลังจากเสร็จสิ้นการค้นหาจะดำเนินการค้นหาต่อที่ โหนด N2 จนสุดท้ายจบที่ โหนด Nk ในหารค้นหาแบบกว้างจะใช้คิวเก็บลำดับของโหนด ที่ต้องการค้นหาต่อไป
การค้นหาข้อมูล (Searching)
การค้นหา คือแบ่งเป็น 2 ประเภท ตามแหล่งที่จัดเก็บข้อมูลเช่นเดียวกับการ
เรียงลำดับการค้นหาข้อมูลแบบภายใน (Internal Searching)การค้นหาข้อมูลแบบภายนอก (External Searching)
1. การค้นหาแบบเชิงเส้นหรือการค้นหาตามลำดับ(Linear)
2. การค้นหาแบบเซนทินัล (Sentinel)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)